ราคากระเบื้องหลังคา Roof Tiles

ประจำวันที่  30 พฤษภาคม 2566

จำหน่าย กระเบื้องหลังคาคุณภาพ ทุกแผ่น ทุกแบบ ทุกขนาดที่ต้องการบริการจัดส่งทั่วไทย หน้างานใกล้ไกลเราบริการถึงมือคุณ

กระเบื้องหลังคา ?

ส่วนประกอบสำคัญของงานก่อสร้างอีกหนึ่งสิ่งนอกจาก เหล็กแทบทุกชนิด ไม่ว่าจะสร้างบ้านหรืออาคาร กระเบื้องหลังคาคือวัสดุที่จำเป็นต้องใช้ โดยกระเบื้องหลังคานั้น มีหลากหลายประเภท หลากหลายรูปแบบ และสีสันต่างๆ
ที่แตกต่างกันออกไป เราจึงควรพิจารณาเลือกซื้อใช้ให้ถูกต้อง ตรงตามความต้องการ 
วันนี้เราได้รวม เนื้อหาความรู้สาระต่างๆ เกี่ยวกับกระเบื้องหลังคาไว้ให้คุณแล้ว 

ดูสินค้าทั้งหมด

กระเบื้องหลังคามีกี่แบบ ?

กระเบื้องหลังคาคอนกรีต
(Concrete Roof Tiles)

สามารถพบเห็นได้ทั่วไป กระเบื้องรูปลอน ขนาดกำลังดี ซึ่งผลิตมาจากคอนกรีต มีส่วนผสมได้แก่ ปูนซีเมนต์ หิน ทราย น้ำ แต่ปัจจุบันได้พัฒนาเป็นหลายรูปแบบ อาทิเช่น กระเบื้องแผ่นเรียบสี่เหลี่ยม แผ่นเรียบรูปทรงหางว่าว และทรงข้าวหลามตัดแบบไทย

กระเบื้องหลังคาคอนกรีต

หลังคาชิงเกิ้ลรูฟ
(Shingle Roof Tiles)

เป็นหลังคายางมะตอย ทำมาจากแผ่นไฟเบอร์ที่มีความแข็งแรงสูง และหุ้มด้วยยางมะตอย ข้อดีของหลังคาชนิดนี้ คือ หากแผ่นใดชำรุดเสียหาย สามารถเปลี่ยนหลังคาที่ชำรุดเป็นแผ่นใหม่ได้ง่าย ทั้งยังดีไซน์สวย  แต่หากติดตั้งไม่ดีอาจจะหลุดไปตามลมได้

กระเบื้องหลังคาแผ่นเรียบ

กระเบื้องดินเผา
(Clay Roof Tiles)

กระเบื้องดินเผา ทำมาจากดินเหนียวผสมน้ำ แล้วนำไปขึ้นรูปและเผาไฟจนได้กระเบื้องที่มีความแข็งแรง นิยมใช้กับ เรือนไทย วัด ทั้งยังมีน้ำหนักเบากว่ากระเบื้อง    คอนกรีต และทนสารเคมีต่างๆได้เป็นอย่างดี แต่หากโดนน้ำหรือความชื้นมากอาจจะทำให้หลุดลอนได้ง่าย

กระเบื้องดินเผา

กระเบื้องหลังคาไฟเบอร์ซีเมนต์
(Fiiber Cement Roof Tiles)

หลังคาชนิดนี่ผลิตมาจาก ปูนซีเมนต์แลนด์ และผสมกับเส้นใยสังเคราะห์ สามารถสะสมความร้อนต่ำ วัสดุมีความยืดหยุ่น และน้ำหนักเบา มีความแข็งแรงทนทานต่อสภาพแวดล้อม ทั้งยังมีสีสันที่สวยงาม สะสมความร้อนทำให้บ้านเย็นสบาย แต่มีต้นทุนในการติดตั้งที่สูงพอสมควร

ราคากระเบื้องซีแพค
ราคากระเบื้องหลังคา Roof Tiles

ราคากระเบื้องหลังคา Roof Tiles ประจำวันที่ 21 เมษายน 2566

จำหน่าย กระเบื้องหลังคาคุณภาพทุกแผ่น ทุกแบบ ทุกขนาดที่ต้องการบริการจัดส่งทั่วไทย หน้างานใกล้ไกลเราบริการถึงมือคุณ

กระเบื้องหลังคา วัสดุออนไลน์

บทความน่ารู้ “เพื่อผู้รับเหมาโดยเฉพาะ”

บทความทั้งหมด
เหล็กเส้นกลม
อ่านบทความ
เหล็กเส้น
อ่านบทความ
ท่อ pvc
อ่านบทความ

กระเบื้องหลังคาคอนกรีต คืออะไร

กระเบื้องหลังคา คอนกรีต คือ กระเบื้องที่ทำมาจากคอนกรีต มีส่วนผสม ดังนี้ ปูนซีเมนต์ หิน ทราย และน้ำ ในปริมาณที่กำหนดไว้แล้ว จากนั้นขึ้นรูปเป็น แผ่นหรือแบบลอน เหมาะกับบ้านหรืออาคารแทบทุกประเภทงานก่อสร้าง มีความสวยงามและแข็งแรงทนทาน แต่การเลือกใช้กระเบื้องคอนกรีตก็มีกำหนดในการใช้งาน คือ โครงสร้างของหลังคาต้องมีความแข็งแรงพอสมควรเพราะกระเบื้องหลังคาคอนกรีตมีน้ำหนักมาก โครงสร้างหลังคาที่เหมาะคือโครงสร้างหลังคาแบบเหล็กนั่นเอง

กระเบื้องหลังคาคอนกรีต SCG

ข้อดีของกระเบื้องหลังคาคอนกรีต

  • แข็งแรงทนทาน

ทนทุกสภาพแวดล้อม กระเบื้องหลังคาแบบคอนกรีตมีความแข็งแรงสูง ไม่ว่าอากาศร้อนรึฝนเอาอยู่แน่นอน

  • มีปัญหารั่วซึมน้อย เพราะมีความหนาแน่นสูงมาก

กระเบื้องมีความหนาแน่นสูง จึงหมดปัญหาเรื่องน้ำซึม ดังนั่นบ้านที่มุงด้วยกระเบื้องหลังคาแบบคอนกรีต มีปัยหาเรื่องน้ำซึมน้อยมาก

  • คุ้มราคา หาซื้อง่าย

มีราคาถูกกว่ากระเบื้องชนิดอื่น  ต้นทุนในการก่อสร้างต่ำ หาซื้อได้ง่าย มีหลายสี ให้เลือกไม่จำเป็นต้องไปสั่งถึงร้านใหญ่ก็สามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามร้านวัสดุก่อสร้าง

  • สวย ติดตั้งง่าย

กระเบื้องมีความทันสมัย มีหลายสี ให้เลือก และยังติดตั้งง่าย ใช้เวลาในการติดตั้งไม่นาน ประหยัดเวลา ได้เป็นอย่างดี

  • อายุการใช้งานยาวนาน

กระเบื้องหลังคาคอนกรีตมีอายุการใช้งานที่นาน เพราะมีความแข็งแรงสามารถทนได้ทุกสภาพอากาศ

ข้อเสียของกระเบื้องหลังคาคอนกรีต

  • น้ำหนักมาก

กระเบื้องหลังคาคอนกรีต มีน้ำหนักที่มาก ดังนั่นหากต้องการสร้างด้วยกระเบื้องหลังคาชนิดนี้ต้องทำโครงสร้างหลังคาให้มีความแข็งแรงพอสมควร  หรือโครงสร้างแบบเหล็กเป็นต้น

  • ป้องกันความร้อนได้น้อย

บ้านหรืออาคารที่ทำจากกระเบื้องกระเบื้องหลังคาแบบคอนกรีต สามารถกันความร้อนได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น

  • ผิวสัมผัสของกระเบื้องคอนกรีต

กระเบื้องมีผิวสัมผัสที่ค่อนข้างหยาบ อาจจะก่อให้เกิดฝุ่นเกาะแล้วทำความสะอาดได้ยาก

เกร็ดความรู้ เรื่อง กระเบื้องหลังคา

เกร็ดความรู้ เรื่อง กระเบื้องหลังคา

กระเบื้องหลังคา ?

ส่วนประกอบสำคัญของงานก่อสร้าง ไม่ว่าจะสร้างบ้านหรืออาคาร กระเบื้องหลังคาคือวัสดุที่จำเป็นต้องใช้ โดยกระเบื้องหลังคานั้น มีหลากหลายประเภท หลากหลายรูปแบบ และสีสันต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป เราจึงควรพิจารณาเลือกซื้อใช้ให้ถูกต้อง ตรงตามความต้องการ
วันนี้เราได้รวม เนื้อหาความรู้สาระต่างๆ เกี่ยวกับกระเบื้องหลังคาไว้ให้คุณแล้ว

ประเภทกระเบื้องหลังคา

กระเบื้องหลังคาคอนกรีต(Concrete Roof Tiles)

สามารถพบเห็นได้ทั่วไป กระเบื้องรูปลอน ขนาดกำลังดี ซึ่งผลิตมาจากคอนกรีต มีส่วนผสมได้แก่ ปูนซีเมนต์ หิน ทราย น้ำ แต่ปัจจุบันได้พัฒนาเป็นหลายรูปแบบ อาทิเช่น กระเบื้องแผ่นเรียบสี่เหลี่ยม แผ่นเรียบรูปทรงหางว่าว และทรงข้าวหลามตัดแบบไทย

หลังคาชิงเกิ้ลรูฟ(Shingle Roof Tiles)

เป็นหลังคายางมะตอย ทำมาจากแผ่นไฟเบอร์ที่มีความแข็งแรงสูง และหุ้มด้วยยางมะตอย ข้อดีของหลังคาชนิดนี้ คือ หากแผ่นใดชำรุดเสียหาย สามารถเปลี่ยนหลังคาที่ชำรุดเป็นแผ่นใหม่ได้ง่าย ทั้งยังดีไซน์สวย แต่หากติดตั้งไม่ดีอาจจะหลุดไปตามลมได้

กระเบื้องดินเผา (Clay Roof Tiles)

กระเบื้องดินเผา(Clay Roof Tiles)

กระเบื้องดินเผา ทำมาจากดินเหนียวผสมน้ำ แล้วนำไปขึ้นรูปและเผาไฟจนได้กระเบื้องที่มีความแข็งแรง นิยมใช้กับ เรือนไทย วัด ทั้งยังมีน้ำหนักเบากว่ากระเบื้อง คอนกรีต และทนสารเคมีต่างๆได้เป็นอย่างดี แต่หากโดนน้ำหรือความชื้นมากอาจจะทำให้หลุดลอนได้ง่าย

กระเบื้องหลังคาไฟเบอร์ซีเมนต์

หลังคาชนิดนี่ผลิตมาจาก ปูนซีเมนต์แลนด์ และผสมกับเส้นใยสังเคราะห์ สามารถสะสมความร้อนต่ำ วัสดุมีความยืดหยุ่น และน้ำหนักเบา มีความแข็งแรงทนทานต่อสภาพแวดล้อม ทั้งยังมีสีสันที่สวยงาม สะสมความร้อนทำให้บ้านเย็นสบาย แต่มีต้นทุนในการติดตั้งที่สูงพอสมควร

กระเบื้องหลังคาคอนกรีต คืออะไร

กระเบื้องหลังคา คอนกรีต คือ กระเบื้องที่ทำมาจากคอนกรีต มีส่วนผสม ดังนี้ ปูนซีเมนต์ หิน ทราย และน้ำ ในปริมาณที่กำหนดไว้แล้ว จากนั้นขึ้นรูปเป็น แผ่นหรือแบบลอน เหมาะกับบ้านหรืออาคารแทบทุกประเภทงานก่อสร้าง มีความสวยงามและแข็งแรงทนทาน แต่การเลือกใช้กระเบื้องคอนกรีตก็มีกำหนดในการใช้งาน คือ โครงสร้างของหลังคาต้องมีความแข็งแรงพอสมควรเพราะกระเบื้องหลังคาคอนกรีตมีน้ำหนักมาก โครงสร้างหลังคาที่เหมาะคือโครงสร้างหลังคาแบบเหล็กนั่นเอง

ข้อดีของกระเบื้องหลังคาคอนกรีต

  • แข็งแรงทนทานทนทุกสภาพแวดล้อม กระเบื้องหลังคาแบบคอนกรีตมีความแข็งแรงสูง ไม่ว่าอากาศร้อนรึฝนเอาอยู่แน่นอน
  • มีปัญหารั่วซึมน้อย เพราะมีความหนาแน่นสูงมากกระเบื้องมีความหนาแน่นสูง จึงหมดปัญหาเรื่องน้ำซึม ดังนั่นบ้านที่มุงด้วยกระเบื้องหลังคาแบบคอนกรีต มีปัยหาเรื่องน้ำซึมน้อยมาก
  • คุ้มราคา หาซื้อง่ายมีราคาถูกกว่ากระเบื้องชนิดอื่น ต้นทุนในการก่อสร้างต่ำ หาซื้อได้ง่าย มีหลายสี ให้เลือกไม่จำเป็นต้องไปสั่งถึงร้านใหญ่ก็สามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามร้านวัสดุก่อสร้าง
  • สวย ติดตั้งง่ายกระเบื้องมีความทันสมัย มีหลายสี ให้เลือก และยังติดตั้งง่าย ใช้เวลาในการติดตั้งไม่นาน ประหยัดเวลา ได้เป็นอย่างดี
  • อายุการใช้งานยาวนานกระเบื้องหลังคาคอนกรีตมีอายุการใช้งานที่นาน เพราะมีความแข็งแรงสามารถทนได้ทุกสภาพอากาศ

ข้อเสียของกระเบื้องหลังคาคอนกรีต

  • น้ำหนักมากกระเบื้องหลังคาคอนกรีต มีน้ำหนักที่มาก ดังนั่นหากต้องการสร้างด้วยกระเบื้องหลังคาชนิดนี้ต้องทำโครงสร้างหลังคาให้มีความแข็งแรงพอสมควร หรือโครงสร้างแบบเหล็กเป็นต้น
  • ป้องกันความร้อนได้น้อยบ้านหรืออาคารที่ทำจากกระเบื้องกระเบื้องหลังคาแบบคอนกรีต สามารถกันความร้อนได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น
  • ผิวสัมผัสของกระเบื้องคอนกรีตกระเบื้องมีผิวสัมผัสที่ค่อนข้างหยาบ อาจจะก่อให้เกิดฝุ่นเกาะแล้วทำความสะอาดได้ยาก

รูปทรงหลังคา

รูปทรงหลังคา ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีดังนี้

หลังคาทรงหน้าจั่ว (Gable Roof)หลังคาทรงปั้นหยา (Hip Roof)หลังคาแบน (Flat Slab Roof)หลังคาเพิงหมาแหงน (Lean To Roof)หลังคาแบบผีเสื้อ (Butterfly Roof)หลังคาแบบร่วมสมัย (Modern &Contemporary Roof)

ความแตกต่าง หลังคากระเบื้องลอนคู่ กับ หลังคาเมทัลชีท

หลังคากระเบื้องลอนคู่
หลังคากระเบื้องลอนคู่

วัสดุ : กระเบื้องคอนกรีต, กระเบื้องซีเมนต์ใยหิน
น้ำหนักต่อแผ่น : ประมาณ 6-7 กม. ต่อแผ่น
ระยะเวลาในการมุง : ใช้เวลามากกว่า เพราะปู ทีละแผ่น
การรั่วซึม : มีโอกาสรั่วซึมมากกว่า เพราะมีรอยต่อเยอะ
ความร้อน : ป้องกันความร้อนได้ดี
ฝนตก : ป้องกันเสียงได้ดีกว่า
อายุการใช้งาน : ประมาณ 20-30 ปี
ราคา : แพงกว่า

หลังคาเมทัลชีท

วัสดุ : แผ่นเหล็กรีดลอนเคลือบสังกะสี หรืออลูซิงค์
น้ำหนักต่อแผ่น : น้ำหนักเบากว่า
ระยะเวลาในการมุง : รวดเร็ว มุงตามความยาวของหลังคาได้
การรั่วซึม :การรั่วซึมน้อยกว่า เพราะมีรอยต่อน้อยกว่า
ความร้อน : กันได้น้อยกว่า ต้องเพิ่มฉนวนกันความร้อน
ฝนตก : ป้องกันเสียงได้น้อยกว่า
อายุการใช้งาน : ประมาณ 10-15 ปี
ราคา : ถูกกว่า

เทคนิคดูแลกระเบื้องหลังคา

เทคนิคการดูแลกระเบื้องหลังคา ให้อายุการใช้งานยาวนาน
  • เช็คคราบสกปรก หากพบสิ่งสกปรกให้กำจัดออก เพื่อให้กระเบื้องดูสวย ไม่ดูเก่าจนเกินไป
  • ตรวจสอบดูความเรียบร้อย หากมีชิ้นไหนชำรุดหรือเสียหายให้รีบซ่อมแซม หรือเปลี่ยนใหม่ทันที แก้ไขโดยทันที
  • เพื่อความปลอดภัยควรเช็ครอยต่อของกระเบื้องหากหลวมหรือหลุดร่อน ให้แก้ไขทันที เพื่อความปลอดภัยของผู้อยู่อาศัย
  • ตรวจสอบดูระบบท่อระบายน้ำ หรือรางน้ำที่อยู่ใกล้หลังคา หากเกิดการรั่วซึมให้รับแก้ไข เพราะอาจจะทำให้หลังคาหลุดร่วงได้ หากปล่อยผ่านไป
  • ดูการอุดตันของท่อระบายน้ำ หรือหลังคา เช่น เศษก้อนหิน กิ่งไม้ ใบไม้ต่างๆ เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราต่างๆ

รูปทรงหลังคา

รูปทรงหลังคา ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีดังนี้

    • หลังคาทรงหน้าจั่ว (Gable Roof)

    • หลังคาทรงปั้นหยา (Hip Roof)

    • หลังคาแบน (Flat Slab Roof)

    • หลังคาเพิงหมาแหงน (Lean To Roof)

    • หลังคาแบบผีเสื้อ (Butterfly Roof)

    • หลังคาแบบร่วมสมัย (Modern& Contemporary Roof)

กระเบื้องหลังคาซีแพค

เกร็ดความรู้ สาระดีๆในการมุงหลังคาเทคนิคดีๆที่ ผู้รับเหมาควรรู้ เกี่ยวกับกระเบื้องหลังคาและการมุงกระเบื้องหลังคา ที่ไม่ควรพลาด

ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก ช่อง : คุยกับลุงช่าง

สรุป

กระเบื้องหลังคาทุกชนิด จะอัพเดทราคาทุกวัน ทุกขนาด โดยผู้รับเหมาสามารถสอบถามเพิ่มเติม หรือ ขอใบเสนอราคาได้ผ่านช่อง LINE OA @watsaduonline หรือโทรมาสอบถามกับพนักงานโดยตรงที่เบอร์ 080-4000050 และยังสามารถตรวจสอบราคาเหล็กชนิดอื่น ราคาวัสดุก่อสร้างทุกรูปแบบ ได้ที่ www.watsaduonline.com อัพเดททุกวัน รู้ราคาทันทุกรายการ

ความแตกต่าง หลังคากระเบื้องลอนคู่ กับ หลังคาเมทัลชีท

หลังคากระเบื้องลอนคู่
  • วัสดุ  :  กระเบื้องคอนกรีต, กระเบื้องซีเมนต์ใยหิน
  • น้ำหนักต่อแผ่น : ประมาณ 6-7 กม. ต่อแผ่น
  • ระยะเวลาในการมุง : ใช้เวลามากกว่า เพราะปู ทีละแผ่น
  • การรั่วซึม : มีโอกาสรั่วซึมมากกว่า เพราะมีรอยต่อเยอะ
  • ความร้อน : ป้องกันความร้อนได้ดี
  • ฝนตก : ป้องกันเสียงได้ดีกว่า
  • อายุการใช้งาน : ประมาณ 20-30 ปี
  • ราคา : แพงกว่า
กระเบื้องหลังคา scg
หลังคาเมทัลชีท
  • วัสดุ  : แผ่นเหล็กรีดลอนเคลือบสังกะสี หรืออลูซิงค์
  • น้ำหนักต่อแผ่น : น้ำหนักเบากว่า
  • ระยะเวลาในการมุง : รวดเร็ว มุงตามความยาวของหลังคาได้
  • การรั่วซึม : การรั่วซึมน้อยกว่า เพราะมีรอยต่อน้อยกว่า
  • ความร้อน : กันได้น้อยกว่า ต้องเพิ่มฉนวนกันความร้อน
  • ฝนตก : ป้องกันเสียงได้น้อยกว่า
  • อายุการใช้งาน : ประมาณ 10-15 ปี
  • ราคา : ถูกกว่า
กระเบื้องหลังคา ราคา

เทคนิคดูแลกระเบื้องหลังคา

เทคนิคการดูแลกระเบื้องหลังคา ให้อายุการใช้งานยาวนาน

  • เช็คคราบสกปรก หากพบสิ่งสกปรกให้กำจัดออก เพื่อให้กระเบื้องดูสวย ไม่ดูเก่าจนเกินไป
  • ตรวจสอบดูความเรียบร้อย หากมีชิ้นไหนชำรุดหรือเสียหายให้รีบซ่อมแซม หรือเปลี่ยนใหม่ทันที แก้ไขโดยทันที
  • เพื่อความปลอดภัยควรเช็ครอยต่อของกระเบื้องหากหลวมหรือหลุดร่อน ให้แก้ไขทันที เพื่อความปลอดภัยของผู้อยู่อาศัย
  • ตรวจสอบดูระบบท่อระบายน้ำ หรือรางน้ำที่อยู่ใกล้หลังคา หากเกิดการรั่วซึมให้รับแก้ไข เพราะอาจจะทำให้หลังคาหลุดร่วงได้ หากปล่อยผ่านไป
  • ดูการอุดตันของท่อระบายน้ำ หรือหลังคา เช่น เศษก้อนหิน กิ่งไม้ ใบไม้ต่างๆ เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราต่างๆ

เทคนิคการดูแลกระเบื้องหลังคา ให้อายุการใช้งานยาวนาน

    • เช็คคราบสกปรก หากพบสิ่งสกปรกให้กำจัดออก เพื่อให้กระเบื้องดูสวย ไม่ดูเก่าจนเกินไป
    • ตรวจสอบดูความเรียบร้อย หากมีชิ้นไหนชำรุดหรือเสียหายให้รีบซ่อมแซม หรือเปลี่ยนใหม่ทันที แก้ไขโดยทันที
    • เพื่อความปลอดภัยควรเช็ครอยต่อของกระเบื้องหากหลวมหรือหลุดร่อน ให้แก้ไขทันที เพื่อความปลอดภัยของผู้อยู่อาศัย 
    • ตรวจสอบดูระบบท่อระบายน้ำ หรือรางน้ำที่อยู่ใกล้หลังคา หากเกิดการรั่วซึมให้รับแก้ไข (เช็คราคาท่อ PVC) เพราะอาจจะทำให้หลังคาหลุดร่วงได้ หากปล่อยผ่านไป
    • ดูการอุดตันของท่อระบายน้ำ หรือหลังคา เช่น เศษก้อนหิน กิ่งไม้ ใบไม้ต่างๆ เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราต่างๆ
กระเบื้องหลังคาแผ่นเรียบ
ประเภทหลังคาบ้านที่คุณต้องรู้ ก่อนสร้างบ้าน

หลังคาบ้านถือว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากในการสร้างบ้าน หากเราจะสร้างบ้านสักหลังควรเลือกหลังคารูปทรง และสไตล์ให้เหมาะสมกันและเลือกช่างที่ชำนาญเพื่อให้บ้านของคุณออกมาสวยงามน่าอยู่มากที่สุด (ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพดีๆจาก :https://www.jorakay.co.th)

หลังคาบ้านทรงจั่ว

1. หลังคาทรงจั่ว Gable Roof

ประเภทหลังคาที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เหมาะกับทุกภูมิภาค ช่วยลดปัญหาการรั่วซึมได้ดีเพราะมีมุมที่ลาดเอียง มีลักษณะเป็นหน้าจั่วสามเหลี่ยมทอดยาวตลอดหลังคา ส่วนใหญ่แล้วบ้านสไตล์โมเดิร์นหรือบ้านสไตล์ร่วมสมัยทั่วไป นิยมใช้หลังคาทรงจั่ว

หลังคาทรงปั้นหยา

2. หลังคาทรงปั้นหยา Hip Roof

อีกหนึ่งที่ได้รับความนิยม มีลักษณะครอบคลุมทุกทิศทาง มีจุดเด่นคือแต่ละด้านเป็นทรงเหลี่ยมหันพิงเข้าหากัน หลังคาประเภทนี้ แข็งแรง ทนทาน แต่หลังคาประเภทนี้ต้องเชื่อมหลายจุด จำเป็นต้องหาช่างฝีมือดี เพื่อป้องกันการรั่วซึมของหลังคา

3. หลังคาทรงมะนิลา Manila Roof

เป็นหลังคาที่ผสมผสานระหว่างหลังคาปั้นหยาและหน้าจั่วเข้าด้วยกัน เหมาะกับสภาพอากาศประเทศไทย มีความแข็งแรง ทนทานแต่อาจจะเกิดการรั่วซึมได้ง่ายเพราะหลังคามีความซับซ้อน เหมาะกับบ้านที่ตกแต่งสไตล์ร่วมสมัย ช่วยป้องกันแสงแดด ได้ดี

หลังคาทรงแบน

4. หลังคาทรงแบน Flat Roof

เป็นหลังคาที่นิยมใช้กับบ้านสไตล์โมเดิร์น มีลักษณะเป็นพื้นแบนราบ ดีไซน์โดดเด่น ดูทันสมัย แต่อาจจะต้องระวังการรั่วซึม หากไม่ป้องกันการรั่วซึมให้ได้มาตรฐาน แต่นิยมเป็นอย่างมากสำหรับทาวน์โฮม หรือทาว์นเฮาส์ ทั้งยังดูเก๋ไม่ซ้ำใคร สำหรับบ้านดีไซน์สมัยใหม่ 

หลังคาทรงเพิงหมาแหงน

5. หลังคาทรงเพิงหมาแหงน Lean-to Roof

นิยมใช้สำหรับบ้านสไตล์โมเดิร์น มีลักษณะปรับเอียงเพียงด้านเดียว ทำให้บ้านดูโดดเด่นไม่เหมือนใคร ติดตั้งรวดเร็ว แต่ป้องกันความร้อนไม่ได้ดีเท่าที่ควร อาจจะเสี่ยงต่อการรั่วซึมได้ง่าย

หลังคาทรงโค้งกลม

6. หลังคาทรงโค้งกลม Curved Roof

พบเห็นได้น้อย มีลักษณะเฉพาะ โค้งมน ส่วนใหญ่ใช้วัสดุหลังคาเมทัลชีทในการมุง แต่เลือกใช้วัสดุมุงได้หลายแบบ ราคาค่อนข้างสูงเพื่อเทียบกับหลังคาประเภทอื่น มีความแข็งแรง ทนทาน

7. หลังคาทรงหลายเหลี่ยม 

เหมาะกับบ้านสไตล์คลาสสิก ทำให้ตัวบ้านมีพื้นที่กว้างขึ้น กันแดดได้ดี ช่วยให้บ้านดูมีเอกลักษณ์ หากใครที่ต้องการสร้างบ้านด้วยหลังคาประเภทนี้ ต้องหาช่างที่มีความชำนาญ เพื่อป้องกันการรั่วซึม ตามมุมเหลี่ยยมต่างๆ

8. หลังคาทรงโดม Dome Roof

หลังคาคล้ายๆกับหลังคาทรงโค้งกลม มีลักษณะเฉพาะ ใช้วัสดุในการก่อสร้างได้หลายๆวัสดุ ไม่ว่ากระเบื้องคอนกรีต กระเบื้องแผ่นเรียบ กระเบื้องโมเสค ก็สามารถใช้งานได้ ดูหรูหรา เพิ่มความโดดเด่ดให้ตัวบ้านเป็นอย่างมาก

เกร็ดความรู้ สาระดีๆในการมุงหลังคา

เทคนิคดีๆที่ ผู้รับเหมาควรรู้ เกี่ยวกับกระเบื้องหลังคา
และการมุงกระเบื้องหลังคา ที่ไม่ควรพลาด

( ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก ช่อง : คุยกับลุงช่าง )

สรุป

กระเบื้องหลังคาทุกชนิด จะอัพเดทราคาทุกวัน ทุกขนาด โดยผู้รับเหมาสามารถสอบถามเพิ่มเติม หรือ ขอใบเสนอราคาได้ผ่านช่อง LINE OA @watsaduonline หรือโทรมาสอบถามกับพนักงานโดยตรงที่เบอร์ 080-4000050 และยังสามารถตรวจสอบราคาเหล็กชนิดอื่น ราคาวัสดุก่อสร้างทุกรูปแบบ ได้ที่ www.watsaduonline.com อัพเดททุกวัน รู้ราคาทันทุกรายการ